แกะสามสายพันธุ์ที่ประเทศไทยนิยมเลี้ยง
1.แกะพันธุ์ซานตาอินเนส (Santa ines)
เป็นแกะเนื้อ นำเข้าจากประเทศบราซิล ปี พ.ศ. 2540 ขนาดใหญ่ ใบหูยาวปรก หน้าโค้งนูน มีหลายสี
น้ำหนักแรกเกิด 2.5-3.5 กก.
น้ำหนักหย่านม 18-20 กก.
โตเต็มที่ตัวผู้หนัก 80-90 กก. ตัวเมีย 60 กก.
เป็นแกะเนื้อ นำเข้าจากประเทศบราซิล ปี พ.ศ. 2540 ขนาดใหญ่ ใบหูยาวปรก หน้าโค้งนูน มีหลายสี
น้ำหนักแรกเกิด 2.5-3.5 กก.
น้ำหนักหย่านม 18-20 กก.
โตเต็มที่ตัวผู้หนัก 80-90 กก. ตัวเมีย 60 กก.
2.แกะพันธุ์คาทาดิน(katahdin)
กรมปศุสัตว์ ได้รับการสนับสนุนพ่อพันธุ์นี้จากสถาบันวินร็อค ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปีพ.ศ. 2532 เป็นแกะเนื้อที่ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถเลี้ยงปล่อยตามทุ่งหญ้าธรรมชาติได้โดยไม่ต้องเสริมอาหารข้น สามารถผลัดขนได้เมื่ออากาศร้อน ทนพยาธิภายในมากกว่าแกะพันธุ์อื่น เนื้อแกะมีคุณภาพดี ไม่มีกลิ่นสาบ
น้ำหนักแรกเกิด 2.5-3.0 กก.
น้ำหนักหย่านม 18-20 กก.
โตเต็มที่ตัวผู้หนัก 90 กก. ตัวเมีย 55-60 กก.
กรมปศุสัตว์ ได้รับการสนับสนุนพ่อพันธุ์นี้จากสถาบันวินร็อค ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปีพ.ศ. 2532 เป็นแกะเนื้อที่ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถเลี้ยงปล่อยตามทุ่งหญ้าธรรมชาติได้โดยไม่ต้องเสริมอาหารข้น สามารถผลัดขนได้เมื่ออากาศร้อน ทนพยาธิภายในมากกว่าแกะพันธุ์อื่น เนื้อแกะมีคุณภาพดี ไม่มีกลิ่นสาบ
น้ำหนักแรกเกิด 2.5-3.0 กก.
น้ำหนักหย่านม 18-20 กก.
โตเต็มที่ตัวผู้หนัก 90 กก. ตัวเมีย 55-60 กก.
3.แกะพันธุ์ดอร์เปอร์ (Dorper)
เป็นแกะที่พัฒนาพันธุ์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 ในอัฟริกาใต้โดยการ
ผสมข้ามพันธุ์ระหว่างแกะพันธุ์แบลคเฮด เปอร์เซียน (Blackhead Persian)
และพันธุ์ดอร์เซทที่มีเขา (Dorset Horn)
กรมปศุสัตว์ นำเข้าจากประเทศแอฟริกาใต้ ในปีพ.ศ. 2539 เป็นแกะที่มีลักษณะเนื้อที่มีคุณภาพสูง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ดี ทนแล้ง มีลำตัวสีขาว หัวสีดำ ไม่มีเขา
ที่มา:สมาคมผู้เลี้ยงแกะ-แพะแห่งประเทศไทยผสมข้ามพันธุ์ระหว่างแกะพันธุ์แบลคเฮด เปอร์เซียน (Blackhead Persian)
และพันธุ์ดอร์เซทที่มีเขา (Dorset Horn)
กรมปศุสัตว์ นำเข้าจากประเทศแอฟริกาใต้ ในปีพ.ศ. 2539 เป็นแกะที่มีลักษณะเนื้อที่มีคุณภาพสูง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ดี ทนแล้ง มีลำตัวสีขาว หัวสีดำ ไม่มีเขา
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น